หน้าแรก >> สินเชื่อรถยนต์ >> คำนวณสินเชื่อรถ คำนวณดอกเบี้ยรถยนต์ รถมอเตอร์ไซค์

คำนวณสินเชื่อรถยนต์ คำนวณไฟแนนซ์รถยนต์

แบบกำหนดค่าเอง

<-- คลิ๊ก +1 , Like , Share ให้ด้วยนะครับ
โปรแกรมคํานวณสินเชื่อรถ คำนวณไฟแนนซ์รถยนต์ สินเชื่อรถ ดอกเบี้ยเงินกู้ซื้อรถ คำนวณงวดผ่อนชำระ ค่างวด ผ่อนรถ วิธีคิดดอกเบี้ยรถยนต์ แบบกำหนดค่าเอง ใช้อัตราดอกเบี้ยคงที่(Fixed Rate) ตลอดสัญญา สามารถเลือกคำนวณดอกเบี้ยแบบ คิดดอกเบี้ยเงินต้นคงที่หรือแบบเฉลี่ยตลอดทั้งปี (Flat Interest rate)
ราคาขาย/ราคารถ (บาท)
เงินดาวน์
เงินต้น/ยอดจัด (บาท)
จำนวนเดือน/งวด
ชำระต่อเดือน (บาท)
อัตราดอกเบี้ย/ปี (%)
วิธีคำนวณดอกเบี้ย
วันที่เริ่มต้นคิดดอกเบี้ย
หากคำนวณที่ 36 งวดพอดี
ต้องชำระต่อเดือน 31,527.78 บาท
เงินต้น
฿1,000,000.00
อัตราดอกเบี้ย/ปี
4.500%
ชำระต่อเดือน
฿32,000.00
Include VAT : ฿34,240.00
จำนวนเดือน/งวด
36
รวมค่างวด
฿1,135,000.00
รวมเงินต้น
฿1,000,000.00
รวมดอกเบี้ย
฿135,000.00
ยอดหนี้คงเหลือ
฿0.00
18 เมษายน 2570
งวด
กำหนดชำระ
วัน
เงินต้นยกมา
ดอกเบี้ยสะสม
ดอกเบี้ย
ค่างวด
เป็นเงินต้น
เป็นดอกเบี้ย
คงเหลือ
1
18 พ.ค. 2567
30
1,000,000.00
3,750.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
971,750.00
2
18 มิ.ย. 2567
31
971,750.00
7,500.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
943,500.00
3
18 ก.ค. 2567
30
943,500.00
11,250.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
915,250.00
4
18 ส.ค. 2567
31
915,250.00
15,000.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
887,000.00
5
18 ก.ย. 2567
31
887,000.00
18,750.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
858,750.00
6
18 ต.ค. 2567
30
858,750.00
22,500.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
830,500.00
7
18 พ.ย. 2567
31
830,500.00
26,250.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
802,250.00
8
18 ธ.ค. 2567
30
802,250.00
30,000.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
774,000.00
9
18 ม.ค. 2568
31
774,000.00
33,750.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
745,750.00
10
18 ก.พ. 2568
31
745,750.00
37,500.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
717,500.00
11
18 มี.ค. 2568
28
717,500.00
41,250.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
689,250.00
12
18 เม.ย. 2568
31
689,250.00
45,000.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
661,000.00
13
18 พ.ค. 2568
30
661,000.00
48,750.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
632,750.00
14
18 มิ.ย. 2568
31
632,750.00
52,500.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
604,500.00
15
18 ก.ค. 2568
30
604,500.00
56,250.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
576,250.00
16
18 ส.ค. 2568
31
576,250.00
60,000.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
548,000.00
17
18 ก.ย. 2568
31
548,000.00
63,750.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
519,750.00
18
18 ต.ค. 2568
30
519,750.00
67,500.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
491,500.00
19
18 พ.ย. 2568
31
491,500.00
71,250.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
463,250.00
20
18 ธ.ค. 2568
30
463,250.00
75,000.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
435,000.00
21
18 ม.ค. 2569
31
435,000.00
78,750.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
406,750.00
22
18 ก.พ. 2569
31
406,750.00
82,500.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
378,500.00
23
18 มี.ค. 2569
28
378,500.00
86,250.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
350,250.00
24
18 เม.ย. 2569
31
350,250.00
90,000.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
322,000.00
25
18 พ.ค. 2569
30
322,000.00
93,750.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
293,750.00
26
18 มิ.ย. 2569
31
293,750.00
97,500.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
265,500.00
27
18 ก.ค. 2569
30
265,500.00
101,250.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
237,250.00
28
18 ส.ค. 2569
31
237,250.00
105,000.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
209,000.00
29
18 ก.ย. 2569
31
209,000.00
108,750.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
180,750.00
30
18 ต.ค. 2569
30
180,750.00
112,500.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
152,500.00
31
18 พ.ย. 2569
31
152,500.00
116,250.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
124,250.00
32
18 ธ.ค. 2569
30
124,250.00
120,000.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
96,000.00
33
18 ม.ค. 2570
31
96,000.00
123,750.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
67,750.00
34
18 ก.พ. 2570
31
67,750.00
127,500.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
39,500.00
35
18 มี.ค. 2570
28
39,500.00
131,250.00
4.500%
32,000.00
28,250.00
3,750.00
11,250.00
36
18 เม.ย. 2570
31
11,250.00
135,000.00
4.500%
15,000.00
11,250.00
3,750.00
0.00
รวม
 
 
 
 
 
1,135,000.00
1,000,000.00
135,000.00
0.00
หมายเหตุ

หากต้องการชำระ 36 งวด ต้องชำระงวดละ 31,527.78 บาท

อัตราดอกเบี้ยคงที่ (Fixed Rate)

อัตราดอกเบี้ยสำหรับสินเชื่อ ผู้กู้จ่ายให้แก่ผู้ให้กู้ในอัตราคงที่ ดอกเบี้ยและเงินต้นในแต่ละงวด จะเท่ากันตลอดอายุสัญญา ส่วนใหญ่ใช้คำนวณสินเชื่อที่ระยะเวลาผ่อนชำระไม่นานมากนัก เช่น สินเชื่อรถยนต์ รถจักยานยนต์ กำหนดให้ชำระดอกเบี้ยร้อยละ 5 เป็นเวลา 5  ปี , สินเชื่อเพื่อการศึกษา กำหนดให้ชำระดอกเบี้ยร้อยละ 7 ต่อปี เป็นเวลา 4 ปี เป็นต้น

คำนวณดอกเบี้ย เงินต้นคงที่ (Flat Interest Rate)

เป็นการคิดดอกเบี้ยเงินต้นคงที่ โดยจะนำเงินต้น ณ วันที่กู้ มาคิดดอกเบี้ยตลอดอายุของสินเชื่อโดยกระจายเป็นปี แล้วหารเป็นเดือน การคิดดอกเบี้ยแบบนี้ ส่วนมากนิยมใช้กันในสินเชื่อประเภท เช่าซื้อต่างๆ เช่น ซื้อรถยนต์, มอเตอร์ไซด์ หรือซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ , ฯลฯ ซึ่งผู้เช่า หรือผู้กู้จะต้องชำระเงินให้แก่ผู้ให้เช่าด้วยจำนวนเงินเท่า ๆ กันทุกงวด ตลอดระยะเวลา ที่เช่าซื้อ ซึ่งจะคำนวณดอกเบี้ยทั้งหมดที่ลูกค้าต้องชำระจากเงินต้นที่คงที่ตลอดอายุของสัญญาเช่าซื้อ ตัวอย่าง เงินกู้ 100,000 บาทดอกเบี้ย 10% ระยะเวลา 2 ปี ดอกเบี้ย 20,000บาท (100,000 X 10% X 2 ปี) ค่างวดต่อเดือน เท่ากับ 5,000 บาท (ต้น 100,000+ดอกเบี้ย 20,000) / 24 เดือน(2 ปี)

ทั้งนี้การจะใช้หรือ คิดดอกเบี้ยโดยวิธีใดนั้น ผู้ให้กู้จะเป็นผู้กำหนด ขึ้นอยู่กับประเภทของสินเชื่อ, ข้อกำหนดในการคิดดอกเบี้ย สอบถามสถาบันการเงินนั้นๆ , อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ธนาคาร  , การคำนวณข้างต้นเป็นการคำนวณโดยประมาณเพื่อให้เห็นภาพรวมเท่านั้น รายละเอียดการกู้โปรดสอบถาม ผู้ให้กู้หรือสถาบันการเงินนั้นๆ
เงินต้น 
จำนวนเงินกู้ ยอดเงินที่กู้จริง กรณีมีเงินดาวน์ ให้หักเงินดาวน์ออกก่อน

ชำระต่อเดือน 
ความสามารถผ่อนชำระต่อเดือน ซึ่งจะสัมพันธ์โดยตรงกับจำนวนงวดและเงินต้น เช่น ต้นเยอะ ผ่อนชำระยอดสูง จำนวนงวดก็จะลดลง

จำนวนเดือน/งวด 
จำนวนงวดที่ชำระ จำนวนเดือนที่คำนวณ ซึ่งจะสัมพันธ์โดยตรงกับยอดชำระต่อเดือนและเงินต้น เช่น ต้นเยอะ จำนวนงวดน้อย ยอดที่ชำระต่อเดือนก็จะสูง

อัตราดอกเบี้ย 
อัตราดอกเบี้ยต่อปี มี 2 แบบให้เลือกคือ

อัตราดอกเบี้ยคงที่ (Fixed Rate)
อัตราดอกเบี้ยสำหรับสินเชื่อบางประเภทที่ผู้กู้จ่ายให้แก่สถาบันการเงินในอัตราคงที่ไม่ขึ้นหรือลง ตามต้นทุนของสถาบันการเงิน โดยในสัญญาเงินกู้จะต้องระบุว่าเป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ตลอดอายุสัญญาเงินกู้ เช่น สินเชื่อเพื่อการศึกษา กำหนดให้ชำระดอกเบี้ยร้อยละ 7 ต่อปี เป็นเวลา 4 ปี , สินเชื่อรถยนต์ กำหนดให้ชำระดอกเบี้ยร้อยละ 5 เป็นเวลา 5  ปี เป็นต้น

อัตราดอกเบี้ยลอยตัว (Floating Rate)
อัตราดอกเบี้ยที่กำหนด ณ ปัจจุบัน ตามประกาศของสถาบันการเงิน ซึ่งอาจมีการปรับเปลี่ยนขึ้นหรือลงได้ตามสถานการณ์ตลาดเงินหรือ
ต้นทุนทางการเงินของสถาบันการเงิน ส่วนจะปรับขึ้นหรือลงเมื่อใดนั้นไม่สามารถบอกได้บางปีอาจมี การปรับหลายครั้ง บางปีไม่มีการปรับเปลี่ยนเลยก็เป็นได้ ในการปรับเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย จะส่งผลกระทบต่อเงินงวดที่ชำระในแต่ละเดือน โดยเฉพาะหาก อัตราดอกเบี้ยปรับตัวสูงขึ้นในภายหลัง เงินงวดที่ชำระรายเดือนเดิมอาจต้องมีการปรับสูงขึ้นได้

วิธีคำนวณดอกเบี้ย
วิธีคำนวณดอกเบี้ย มี 2 แบบให้เลือกคือ

1. เงินต้นคงที่ (Flat Interest Rate) - สินเชื่อรถยนต์, สินเชื่อรถมอเตอร์ไซด์ สินเชื่อส่วนบุคคล สินเชื่อเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ
เป็นการคิดดอกเบี้ยเงินต้นคงที่ โดยจะนำเงินต้น ณ วันที่กู้ มาคิดดอกเบี้ยตลอดอายุของสินเชื่อโดยกระจายเป็นปี แล้วหารเป็นเดือน การคิดดอกเบี้ยแบบนี้ ส่วนมากนิยมใช้กันในสินเชื่อประเภท เช่าซื้อต่างๆ เช่น ซื้อรถยนต์, มอเตอร์ไซด์ หรือซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ , ฯลฯ ซึ่งผู้เช่า หรือผู้กู้จะต้องชำระเงินให้แก่ผู้ให้เช่าด้วยจำนวนเงินเท่า ๆ กันทุกงวด ตลอดระยะเวลา ที่เช่าซื้อ ซึ่งจะคำนวณดอกเบี้ยทั้งหมดที่ลูกค้าต้องชำระจากเงินต้นที่คงที่ตลอดอายุของสัญญาเช่าซื้อ

ตัวอย่าง เงินกู้ 100,000 บาทดอกเบี้ย 10% ระยะเวลา 2 ปี ดอกเบี้ย 20,000บาท (100,000 X 10% X 2 ปี) ค่างวดต่อเดือน เท่ากับ 5,000 บาท (ต้น 100,000+ดอกเบี้ย 20,000) / 24 เดือน(2 ปี)

เงินกู้/ยอดจัด/เงินต้น 100,000 บาท
ดอกเบี้ย/ปี 10%
ระยะเวลา 2 ปี (24 เดือน/งวด)
   
คิดเป็นดอกเบี้ย 100,000 X 10% X 2 ปี
  20,000บาท
   
ค่างวดต่อเดือน (ต้น + ดอกเบี้ย) / งวด
  (100,000+ 20,000) / 24
  5,000 บาท / เดือน

2. แบบลดต้นลดดอก (Effective Interest Rate) - สินเชื่อบ้าน สินเชื่อคอนโด สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย สินเชื่อเพื่อการศึกษา เงินกู้เบิกเกินบัญชี (O/D) เป็นการคิดดอกเบี้ย แบบลดต้นลดดอก กล่าวคือ ดอกเบี้ยจะถูกคิดจากยอดเงินต้นคงเหลือ จากงวดก่อน ส่วนมากใช้สำหรับการคำนวณดอกเบี้ย ของสินเชื่อเกือบทุกประเภท เช่น สินเชื่อที่กู้มาจากสถาบันการเงินใหญ่ๆ สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย สินเชื่อเพื่อการศึกษา เป็นต้น โดยคิดดอกเบี้ยจาก เงินต้นคงเหลือในแต่ละงวด แม้ช่วงแรกจ่ายดอกเบี้ยสูง แต่เดือนต่อ ๆ มา ดอกเบี้ยจะลดลงตามเงินต้น ปรกติจะคิดดอกเบี้ยเป็นรายวัน

ตัวอย่างเช่น เงินกู้ 100,000 บาท ค่างวดอยู่ที่ 5,000 บาท/เดือน ดอกเบี้ยคงที่ (Fixed Rate)  10% ตลอดสัญญา ((10/365 วัน) X เงินต้น 100,000) / 100 = 27.40 บาท ดอกเบี้ยวันนั้น ๆ รวมกับเงินต้น จะเป็นยอดเงินต้นวันถัดไป 100,027.40 และจะคำนวณอย่างนี้เรื่อยๆ ทุกวัน จนถึงกำหนดจ่ายค่างวดแต่ละงวด

เงินกู้/ยอดจัด/เงินต้น 100,000 บาท
ดอกเบี้ย/ปี 10% (Fixed Rate) ตลอดสัญญา
   
ดอกเบี้ย เดือนที่ 1 วันที่ 1 ((ดอกเบี้ยต่อปี / จำนวนวันต่อปี ) X เงินต้น) / 100
((10/365) X 100,000) / 100
27.40 บาท

ดอกเบี้ย เดือนที่ 1 วันที่ 2 ((ดอกเบี้ยต่อปี / จำนวนวันต่อปี ) X (เงินต้น + ดอกเบี้ยวันก่อนหน้า)) / 100
  ((10/365) X ( 100,000 + 27.40)) / 100

คำนวณอย่างนี้เรื่อยๆ ทุกวัน จนถึงกำหนดจ่ายค่างวดแต่ละงวด
   
ดอกเบี้ย เดือนที่ 1 วันที่ 31 852.81 บาท
วันที่ 31 ชำระค่างวด 5,000 บาท
คิดเป็นเงินต้น 5,000 - 852.81 = 4,147.19 บาท
   
เงินต้นคงเหลือ 100,000 บาท - 4,147.19 บาท
95,852.91 บาท (เดือนที่ 1 วันที่ 31)
   
ดอกเบี้ย เดือนที่ 2 วันที่ 1 ((ดอกเบี้ยต่อปี / จำนวนวันต่อปี ) X เงินต้นคงเหลือ) / 100
((10/365) X 95,852.91) / 100
26.26 บาท

คำนวณอย่างนี้เรื่อยๆ ทุกวัน จนถึงกำหนดจ่ายค่างวดแต่ละงวด

วันที่เริ่มต้นคิดดอกเบี้ย 
วันที่เริ่มต้นคิดดอกเบี้ย หรือ วันที่กู้ วันตั้งต้นในการคำนวณดอกเบี้ย

ทั้งนี้ การที่จะคิดดอกเบี้ยโดยวิธีใดนั้น ผู้ให้กู้จะเป็นผู้กำหนด ขึ้นอยู่กับประเภทของสินเชื่อ, ข้อกำหนด และนโยบายในการคิดดอกเบี้ย ของสถาบันการเงินนั้นๆ